Author: khunsuthum

artical

อนาคตกลุ่มชาติพันธุ์ในกำมือของคนรุ่นใหม่

ชาติพันธุ์เฟส : เป็นกิจกรรมสุดท้ายหรือกิจกรรมปิดโครงการของทุก ๆ ปีที่ และทุก ๆ โครงการที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจาก กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา ผ่านไปยังโครงการทุนพัฒนาอาชีพที่ใช้นวัตกรรมและชุมชนเป็นฐานต้องดำเนินการ สำหรับหน่วย “เหนือตะวัน” เป็นหน่วยจัดการเรียนรู้ที่รับผิดชอบโครงการที่สนับสนุนให้แก่กลุ่มพี่น้องชาติพันธุ์หรือกลุ่มชนเผ่า ไม่ว่าจะเป็น กะเหรี่ยง ม้ง ลาหู่ ลีซอ กลุ่มไทยใหญ่ และกลุ่มกะเหรี่ยงโปว์ที่อยู่ไกลถึงบ้านไล่โว่ อำเภอสังขละ จังหวัดกาญจนบุรี

Read More
artical

กระบวนการพัฒนาอาชีพโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน ภายใต้กระบวนการวิจัยเพื่อท้องถิ่น

 “วิกฤติ” กลับมาอีกครั้ง แต่รอบนี้ไม่ใช่วิกฤติเศรษฐกิจดังเช่นปี 2540 หากเป็นวิกฤติที่เรียกว่า Disruptive ที่ใครปรับตัวได้ก่อนย่อมอยู่รอดในโลกยุคใหม่ แต่อย่างไรก็ตาม ความพยายามในการปรับตัวภายใต้วิกฤติก็ถูกเร่งให้เร็วขึ้นด้วยเกิดโรคระบาดอย่าง Covid – 19 ที่ส่งผลกระทบให้เศรษฐกิจชะลอตัว เกิดการเลิกจ้างงานโดยเฉพาะแรงงานในกลุ่มบริการ เช่นเรื่องการท่องเที่ยว ซึ่งมีการคาดการว่า ต้องใช้เวลาไม่น้อยกว่า 3 ปี สถานการณ์จะกลับสู่ภาวะปกติ

Read More
artical people พัฒนาอาชีพด้วยงานวิจัยท้องถิ่น

ลดความยากจนและความเหลื่อมล้ำด้วย “อาชีพ” ที่มี “ชุมชนเป็นฐาน”

สมคิด แก้วทิพย์ —— ในทุก ๆ ภาวะวิกฤติ ใครปรับตัวได้ก่อนย่อมอยู่รอด แต่คนที่อยู่รอดจากการปรับตัวได้ในทุก ๆ วิกฤติมักเป็นกลุ่มคนอยู่ตรงกลาง ไล่ขึ้นไปจนถึงชั้นบนสุดของสังคม นั่นเป็นเพราะ กลุ่มคนเหล่านั้นมี “โอกาส” เข้าถึงหลาย ๆ ปัจจัยในการปรับตัว ทั้งเงินทุน ความรู้ ตลอดจนกติกาและเงื่อนไขหลากหลายที่มักเอื้อให้กับกลุ่มคนเหล่านี้

Read More
people พัฒนาอาชีพด้วยงานวิจัยท้องถิ่น

“จากเพื่อน สู่เพื่อน” กระบวนการต่อยอด และขยายผลเครือข่ายกลุ่มชาติพันธุ์ เชียงราย

++++ เชียงรายเป็นอีกหนึ่งจังหวัดที่มีกลุ่มชาติพันธุ์อาศัยค่อนข้างมาก และอาชีพของคนส่วนใหญ่คือ การทำไร่ และการเกษตรอื่น ๆ   เมื่อการค้าขายดี เศรษฐกิจดี ผลผลิตทางการเกษตรส่วนใหญ่ส่งเข้ามาขายในเมือง ในกรุงเทพ บางส่วนส่งไปขายเพื่อนบ้าน อย่างพม่า และ ลาว ชาวบ้านก็มีความเป็นอยู่ที่ดี             กระทั่งเปิด “เขตการค้าเสรี” ผลผลิตทางการเกษตรทะลักเข้ามาทางท่าเรือเชียงแสน

Read More
CBT.- การท่องเที่ยวโดยชุมชน แหล่งเรียนรู้งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น

บ้านผาหมอน หมู่บ้านในหุบเขา

          พลันที่ฝนแรกหล่นลงสู่พื้นดินไม่เฉพาะต้นไม้ใบหญ้าที่จะกลับมาชุ่มชื้น ชาวบ้านผาหมอนเองก็ยินดีปรีดา หนุ่มปกาเกอะญอหลายคนจะผละจากแปลงผักและแปลงดอกไม้ หญิงสาววางมือจากกี่ทอผ้า  ต่างมุ่งหน้าสู่แปลงนา เพื่อเตรียมพร้อมฤดูทำนาที่หมุนเวียนมาอีกปี ‘หมุนเวียน’ ที่ไม่ใช่ ‘เลื่อนลอย’  นิยามนี้ใช้เวลานานหลายทศวรรษกว่าจะทำให้คนทั่วไปเข้าใจว่ามันมีความหมายที่แตกต่างกัน  หมุนเวียน คือ จะกลับมาใหม่เมื่อถึงเวลาที่เหมาะสม ขณะที่ เลื่อนลอย คือการปฏิบัติบางอย่างแบบไร้จุดหมาย นาขั้นบันไดที่ชาวบ้านเพียรพยายามดูแล และกลับมาใช้ใหม่ในทุก ๆ

Read More